รายละเอียดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
  2631-2558
  ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก-การหาความแข็ง(ความแข็งระหว่าง 10 IRHD ถึง 100 IRHd)
  Rubber,Vulcanized or Thermaplastec-Determination of Hardness (Hardness Between 10 IRHD and 100 IRHd)
  มอก. มาตรฐานทั่วไป
  11 พฤศจิกายน 2558
  ISO 48:2010

ประกาศและงานทั่วไป
132
พิเศษ 293ง
11 พฤศจิกายน 2558
4731
22 กันยายน 2558
ยกเลิก มอก.2631-2558 และประกาศ มอก.2631 เล่ม 2-2567 ขึ้นใหม่ ให้มีผลเมื่อพ้นกำหนด 120 วัน นับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (9 ต.ค. 2567) (**มอก.2631-2558 มีผลใช้งานตั้งแต่วันที่ 6 ก.พ. 2568 เป็นต้นไป)

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดวิธีทดสอบเพื่อหาความแข็งบนผิว เรียบ (วิธีหาความแข็งมาตรฐาน) ของยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก จำนวน 4 วิธี และวิธีทดสอบเพื่อหาความแข็งบนพื้นผิวโค้ง (วิธีทดสอบหาความ แข็งปรากฏ) จำนวน 4 วิธี มีหน่วยความแข็งเป็น IRHD (international rubber hardness degree) วิธีการนี้ครอบคลุมช่วงความแข็งตั้งแต่ 10 IRHD ถึง 100 IRHD วิธีทดสอบทั้งหมดนี้แตกต่างกัน ตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกบอล ที่ใช้กดและขนาดของแรงกด เพื่อให้เหมาะกับการใช้งานที่เฉพาะเจาะจง ช่วง ของการนำไปใช้งานแต่ละวิธีแสดงไว้ในรูปที่ 1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม นี้ ไม่กำหนดวิธีทดสอบหาความแข็งด้วยเครื่องวัดความแข็งแบบพกพา (pocket hardness meter) ซึ่งแสดงไว้ใน ISO 7619-2

This standard specifies four methods for the determination of the hardness of vulcanized or thermoplastic rubbers on flat surfaces (standard-hardness methods) and four methods for the determination of the apparent hardness of curved surfaces (apparent-hardness methods). The hardness is expressed in international rubber hardness degrees (IRHD). The methods cover the hardness range from 10 IRHD to 100 IRHD. These methods differ primarily in the diameter of the indenting ball and the magnitude of the indenting force, these being chosen to suit the particular application. The range of applicability of each method is indicated in Figure 1. This standard does not specify a method for the determination of hardness by a pocket hardness meter, which is described in ISO 7619-2.

Tisi-IT P3.02 Version 2023
พัฒนาระบบโดย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร